อย
ศูนย์รวมข้อมูลกัญชา กัญชง

Cannabisinfo
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับกัญชา
    • ข้อมูลวิชาการ
    • ความเห็นราชวิทยาลัย / แพทยสภา
    • รายชื่อห้องปฏิบัติการที่ผ่านการเปรียบเทียบผล
    • ข่าว FDA Press Release
  • กฎหมาย
    • กฎหมาย ประกาศ ระเบียบ
    • การควบคุมตามกฎหมายและบทลงโทษ
  • สำหรับประชาชน
  • การยื่นขอรับอนุญาต
    • แบบคำขอจดแจ้งปลูกกัญชากัญชง
    • คำขอใช้งานระบบ
    • คู่มือการยื่นคำขอรับอนุญาต
    • คู่มือรายงานผ่านระบบสารสนเทศ
    • กลุ่ม Open chat (ผลิต : นำเข้า : ส่งออก)
    • กลุ่ม Open chat (สถานพยาบาล : คลินิก)
    • การผลิต (สกัด)
      • กฎหมาย/แนวทาง
      • แบบคำขอ
      • แบบรายงาน
    • นำเข้า
      • แบบคำขอ
      • กฎหมายแนวทาง
      • แบบรายงาน
    • ส่งออก
      • กฎหมายแนวทาง
      • แบบคำขอ
      • แบบรายงาน
    • จำหน่าย
      • กฎหมาย / แนวทาง
      • แบบคำขอ
      • แบบรายงาน
    • มีไว้ในครอบครอง
      • กฎหมาย/แนวทาง
      • แบบคำขอ
      • แบบรายงาน
    • เพื่อการศึกษา/วิจัย/ใช้สำหรับห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์
      • กฎหมาย / แนวทาง
      • แบบคำขอ
      • แบบรายงาน
  • สำหรับเจ้าหน้าที่
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับกัญชา
    • ข้อมูลวิชาการ
    • ความเห็นราชวิทยาลัย / แพทยสภา
    • รายชื่อห้องปฏิบัติการที่ผ่านการเปรียบเทียบผล
    • ข่าว FDA Press Release
  • กฎหมาย
    • กฎหมาย ประกาศ ระเบียบ
    • การควบคุมตามกฎหมายและบทลงโทษ
  • สำหรับประชาชน
  • การยื่นขอรับอนุญาต
    • แบบคำขอจดแจ้งปลูกกัญชากัญชง
    • คำขอใช้งานระบบ
    • คู่มือการยื่นคำขอรับอนุญาต
    • คู่มือรายงานผ่านระบบสารสนเทศ
    • กลุ่ม Open chat (ผลิต : นำเข้า : ส่งออก)
    • กลุ่ม Open chat (สถานพยาบาล : คลินิก)
    • การผลิต (สกัด)
      • กฎหมาย/แนวทาง
      • แบบคำขอ
      • แบบรายงาน
    • นำเข้า
      • แบบคำขอ
      • กฎหมายแนวทาง
      • แบบรายงาน
    • ส่งออก
      • กฎหมายแนวทาง
      • แบบคำขอ
      • แบบรายงาน
    • จำหน่าย
      • กฎหมาย / แนวทาง
      • แบบคำขอ
      • แบบรายงาน
    • มีไว้ในครอบครอง
      • กฎหมาย/แนวทาง
      • แบบคำขอ
      • แบบรายงาน
    • เพื่อการศึกษา/วิจัย/ใช้สำหรับห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์
      • กฎหมาย / แนวทาง
      • แบบคำขอ
      • แบบรายงาน
  • สำหรับเจ้าหน้าที่
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
ภาษา
EN
image assembly
การเข้าถึง
close assembly
  • ขนาดตัวอักษร
    • ก
    • ก
    • ก
  • การเว้นระยะห่าง
    • icon space 1
    • icon space 2
    • icon space 3
  • ความตัดกันของสี
    • icon color 1สีปกติ
    • icon color 2ขาวดำ
    • icon color 3ดำ-เหลือง
banner

คำถามที่พบบ่อย

  • หน้าแรก
  • คำถามที่พบบ่อย

กัญชา (cannabis sativa)

 พืชกัญชาชนิด cannabis sativa  เป็นพืชล้มลุกจำพวกหญ้า ต้นสูงประมาณ 2-4 ฟุต ใบแตกเป็นแฉกคล้ายใบสัมปะหลังหรือใบละหุ่ง ริมใบทุกแฉกมีลักษณะเป็นจักๆ ใบหนึ่งมีราว 5-8 แฉก ในก้านเดียวกัน ออกดอกตามง่ามกิ่งก้าน จัดอยู่ในกลุ่มยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ตาม พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 

        ในกัญชามีสารเคมี cannabinoids อยู่จำนวนหนึ่ง โดยสารสำคัญในกลุ่มนี้ที่เชื่อว่าออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท คือ d9- tetrahydrocannabinol (thc) และสารดังกล่าวจัดอยู่ในกลุ่มวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทในประเภท 1 ตาม พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ.2518 การค้นคว้าเกี่ยวกับฤทธิ์ของ thc นำไปสู่การผลิตยา dronabinol (marinol) ซึ่งมีส่วนผสมของ thc สำหรับใช้ในผู้ป่วยมะเร็งที่รักษาด้วยวิธีเคมีบำบัดเพื่อป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน และทำให้เพิ่มความอยากอาหารในผู้ป่วยเอดส์


  กัญชานิยมเสพโดยการสูบ ฤทธิ์ของกัญชาเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย จะแทรกซึมเข้าสู่กระแสเลือดอย่างรวดเร็วภายใน 2-3 นาที และจะออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทได้สูงสุดถึง 1 ชั่วโมง อาการโดยทั่วไปจะเซื่องซึมลงอย่างช้าๆ แต่บางรายก็ลดลงอย่างรวดเร็ว 

        ผู้เสพกัญชาจะมีอาการเคลิ้มจิต (euphoric “high” or “stoned”) โดยในขั้นต้นๆ มักจะเป็นอาการกระตุ้นประสาท และบางคนจะมีอาการตึงเครียดทางใจหรืออาการกังวล ต่อมาก็มีอาการเคลิ้มจิตเคลิ้มใจ ทำให้ผู้สูบรู้สึกว่า บรรยากาศทั่วๆ ไปเงียบสงบ จากนั้นมักจะมีปฏิกริยาที่เปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหัน เดี๋ยวหัวเราะลั่นเดียวสงบ เพราะฉะนั้นอาการเคลิ้มจิตจึงควรเรียกว่า “อาการบ้ากัญชา″ มากกว่า

        อาการอื่นๆ ที่พบคือ ผู้เสพจะรู้สึกล่องลอย ปากแห้ง สับสน อยากอาหาร ชีพจรเพิ่มขึ้น ตาแดงขึ้นในขณะที่เสพยา หากเสพเป็นประจำจะทำให้สุขภาพเสื่อมลง ได้แก่โรคหลอดลมอักเสบ ไซนัสอักเสบทางเดินหายใจอักเสบ ตะคริว ท้องร่วง

        โดยรวมแล้ว กัญชามีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่คล้ายกับพวกยากระตุ้นประสาท (stimulant) ยากดประสาท (depressant) ยาหลอนประสาท (hallucinogen) ยาแก้ปวด (analgesic) และยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท (psychotomimetic) หลายประการในยาตัวเดียวกัน มีรายงานการวิจัยว่า lsd มีฤทธิ์ต่อจิตประสาทสูงเป็น 160 เท่าของ thc และในขนาดใช้ที่ต่ำแล้ว กัญชาและแอลกอฮอล์มีฤทธิ์คล้ายกัน คือในขั้นต้นนั้น ทั้งสองตัวมีฤทธิ์กระตุ้นประสาท แต่หลังจากนั้นจะมีฤทธิ์กล่อมประสาท

1
แสดงผล รายการ
อย
ศูนย์รวมข้อมูลกัญชา กัญชง

Cannabisinfo

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา :
88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ
อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

  • Website Policy
  • Privacy Policy
  • Disclaimer

รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

ผู้ชมเว็บไซต์ :

rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
  • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
  • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Subscribe

เลือกหัวข้อที่ท่านต้องการ Subscribe

no-popup